Login

Register

Login

Register

Login

Register

WM3 โปรแกรมสต๊อกสินค้า จัดการคลังสินค้า

WM3 โปรแกรมสต๊อกสินค้า จัดการคลังสินค้า

โปรแกรมสต๊อกสินค้า WM3 ที่ช่วยให้ทุกอย่างง่าย

เนื่องจากปัจจุบันมีการแข่งขันทางด้านธุรกิจอย่างมาก ทำให้บริษัท พยายามที่จะลดต้นทุนในการบริหารจัดการค่าใช้จ่ายส่วนต่างๆภายในองค์กร ซึ่งคลังสินค้าเป็นส่วนที่ได้รับความสนใจในอันดับต้น ๆ ของการลดค่าใช้จ่าย การที่จะบริหารจัดการคลังสินค้าได้ดีนั้น จะต้องมีการใช้เทคโนโลยีและซอฟต์แวร์ โปรแกรมสต๊อกสินค้า ในการบริหารจัดการคลังสินค้าที่มีประสิทธิภาพ บริษัท โอ จี เอ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด มีประสบการณ์ในการติดตั้งและดูแล บริการหลังการขายของซอฟแวร์ บริหารจัดการคลังสินค้า ให้กับลูกค้ามานานกว่า 15 ปี  ได้มีการพัฒนาโปรแกรมบริหารจัดการคลังสินค้า (Warehouse Management System WMS) ที่เหมาะสมกับธุรกิจ ในประเทศไทย ซึ่งมีฟังก์ชันการใช้งานที่ครบถ้วน มีความยืดหยุ่นตามความต้องการของลูกค้า ราคาสมเหตุผล และบริการหลังการขายที่ดีและมีประสิทธิภาพจนได้รับความไว้วางใจจากลูกค้า นั่นคือ Warehouse Management System ที่มีชื่อว่า WM3

ประโยชน์โปแกรมสต๊อกสินค้า WM3

  1. ช่วยลดปัญหา สินค้าในคลัง ขาด , เกิน , ที่เก็บสินค้าไม่พอ,ของเสื่อมสภาพ หรือหมดอายุ
  2. ช่วยสนับสนุนการผลิต ป้องกันวัตถุดิบขาดและลดปัญหาการผลิตขาดช่วง รวมไปถึง ลดปัญหาสินค้าไม่มีตามฤดูกาล ( Safety Stock )
  3. การประมาณการสินค้าคงคลัง ( Stock forecast )
  4. ช่วยบริหารจัดการ ในจัดเก็บสินค้าได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว มากขึ้น
  5. สามารถบริหารจัดการพื้นที่ในคลังสินค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพและใช้พื้นที่ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด
  6. สามารถควบคุมการรับ-การจ่ายสินค้า ให้ตรงตามแผนเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
  7. สามารถรองรับการจ่ายสินค้าได้หลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็น FIFO , FEFO ,Lot ,Serial Number(SN)
  8. สามารถควบคุม หมายเลขพาเลท LPN (License Plate Number)
  9. สามารถรองรับการทำงานได้หลากหลายประเภทธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็น การผลิต ,คลังสินค้าเช่า,ธุรกิจซื้อมา-ขายไป
  10. สามารถ Update และดูสินค้าคงคลัง แบบ Real-time
  11. ลดข้อผิดพลาดในการบันทึกข้อมูล ด้วยระบบบาร์โค้ด ทำให้บันทึกข้อมูลได้อย่างแม่นยำมากยิ่งขึ้น
  12. สามารถควบคุมสถานะการจัดส่งสินค้าไปยังลูกค้าได้

ฟังก์ชันเด่น Highlight Function โปรแกรมสต๊อกสินค้า WM3

  1. รองรับการทำงานได้หลายคลังสินค้า ( Multiple Warehouse )
  2. รองรับได้หลายหน่วยนับ UOM (  Unit of Measure )
  3. สามารถปรับเปลี่ยนตามความต้องการของ User ได้ ( Configuration and Customization )
  4. สามารถดู stock real-time และ Stock Movement ได้
  5. สามารถรวมใบเบิกการหยิบสินค้าให้เป็นใบเดียวกันได้ ( Grouping Order )
  6. แสดงการแจ้งเตือนเมื่อสินค้าในสต๊อกลดลงกว่ากำหนด ( Low stock alert )
  7. ใบหยิบสินค้า (Picking List )
  8. การจองสินค้า ( Allocate Product)
  9. สินค้าฝากขาย (Consignment)
  10. นับสินค้าได้ทั้งแบบ Cycle Count และ Physical Count โดยไม่ต้องหยุดการทำงานในคลังสินค้า
  11. สามารถเชื่อมต่อกับระบบต่างๆได้ ( Interface System ) เช่น SAP B1,SAP A1, Dynamic AX, Etc.
  12. สามารถ Export to Excel file ได้
  13. ระบบสามารถเก็บประวัติการใช้งานได้ ( Transection Log )
  14. รองรับการใช้งาน Barcode  1D ,QR Code และ RFID
  15. รองรับการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพาได้ (PDA)
  16. รายงานในรูปแบบ Dash Boardในรูปแบบต่างๆ
  17. รองรับการแสดงผลแบบ Responsive สามารถดูข้อมูลได้ทั้ง บน มือถือ android ,IOS หรือ Tablet
  18. รองรับการทำงานแบบช่วยกันทำงานได้
  19. การบริหารสิทธ์ การใช้โปรแกรม เป็นแบบ concurrent ทำให้สามารถเพิ่ม ผู้ใช้งานในระบบได้มากกว่า ระบบที่ใช้ user ทุกผู้ใช้ในคลังจะมองเห็นภาพ ของการทำงานของคลังเป็นภาพเดียวกัน จาก dashboard ของระบบ

 

โปรแกรมสต๊อกสินค้าที่ออกแบบมาเพื่อคุณ

จะเห็นว่าเราได้คิดโซลูชันต่าง ๆ ของการเป็นโปรแกรมสต๊อกสินค้ามาอย่างครบถ้วน เพื่อตอบโจทย์ความต้องการใช้งานหลากหลายรูปแบบ ที่มีความแตกต่างกันไปตามแต่ละแห่ง แต่ละองค์กร เพื่อให้ได้ซอฟต์แวร์ที่ยืดหยุ่นมากที่สุด เหมาะสมกับการใช้งานของบริษัทในประเทศไทย สามารถขอข้อมูล คำปรึกษาได้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ

OGA ออกบูธในงาน Logimat Southeast Asia

LogiMAT Southeast Asia 2024 . งานแสดงสินค้าและเทคโนโลยีชั้นนำด้านอินทราโลจิสติกส์ คลังสินค้าอัจฉริยะ และกระบวนการจัดการตลอดห่วงโซ่อุปทาน ร่วมกับ LogiFOOD Southeast Asia งานแสดงสินค้าและเทคโนโลยีด้านโลจิสติกส์อาหารครั้งแรกในเอเชียแปซิฟิก . . ทาง OGA ยกขบวนสินค้าแบรนด์ดังไม่ว่าจะเป็นอุปกรณ์เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด แสกนเนอร์ Mobile Computer ของทาง Honeywell มาพร้อมซอร์ฟแวร์สร้างบาร์โค้ด จากทาง Bartender อีกทั้งยังมีสติ๊กเกอร์บาร์โค้ดทุกชนิด ทุกเนื้อกระดาษ และริบบอนแบรนด์ inkanto บอกเลยว่างานนี้จัดเต็ม ตอบโจทย์ในหลายธุรกิจ .       .     .     . ทาง OGA ขอขอบพระคุณลูกค้าทุกท่านที่มาเยี่ยมชมบูธของทางเรา และให้การตอบรับที่ดี เราพร้อมเป็นที่ปรึกษาและให้ข้อมูลด้านโซลูชั่นที่ตอบโจทย์ในธุรกิจของลูกค้าทุกท่าน .         . . —– […]

ความแตกต่าง Barcode, QR Code และ RFID

ในยุคที่เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของเรามากขึ้น การใช้งานระบบระบุและติดตามข้อมูลต่าง ๆ ก็ยิ่งมีความสำคัญและแพร่หลายออกไป เทคโนโลยีที่นิยมใช้ในการระบุและติดตามข้อมูลที่พบเห็นได้ทั่วไป ได้แก่ Barcode, QR Code, และ RFID ทั้งสามเทคโนโลยีนี้มีคุณสมบัติและวิธีการใช้งานที่แตกต่างกัน บทความนี้จะพาไปทำความเข้าใจความแตกต่างระหว่างทั้งสามเทคโนโลยี 1. Barcode (บาร์โค้ด) บาร์โค้ดเป็นเทคโนโลยีที่มีการใช้มานานและแพร่หลายที่สุด โดยทั่วไปจะเป็นเส้นคู่ขนานสีดำและขาว ที่มีการเรียงรหัสข้อมูลตามรูปแบบเส้นเพื่อบ่งบอกข้อมูลต่าง ๆ เช่น หมายเลขสินค้า วันผลิต หรือราคาสินค้า ข้อมูลในบาร์โค้ดสามารถอ่านได้ด้วยเครื่องสแกนบาร์โค้ด ซึ่งมีการใช้งานในหลากหลายธุรกิจ เช่น ร้านค้า ห้างสรรพสินค้า และคลังสินค้า   ข้อดี ● ราคาถูกและหาได้ง่าย ● ใช้งานง่ายและมีประสิทธิภาพในงานที่ต้องการความเร็วในการอ่านข้อมูล ข้อเสีย ● มีความจุข้อมูลจำกัด ● ต้องใช้เครื่องสแกนบาร์โค้ดในการอ่านข้อมูล 2. QR Code (คิวอาร์โค้ด) QR Code เป็นการพัฒนามาจากบาร์โค้ดที่เพิ่มความสามารถในการเก็บข้อมูลที่มากขึ้นและซับซ้อนกว่า QR Code มีรูปแบบเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีจุดและลวดลายต่าง ๆ ที่สามารถอ่านได้จากทุกทิศทาง ทำให้มีการใช้งานที่สะดวกและมีประสิทธิภาพในการเก็บข้อมูลที่มากกว่าบาร์โค้ด   […]

บาร์โค้ด 1D กับ 2D แตกต่างกันอย่างไร

บาร์โค้ดเป็นเทคโนโลยีที่ใช้ในการระบุข้อมูลและติดตามผลิตภัณฑ์โดยการสแกน บาร์โค้ดแบ่งออกเป็นสองประเภทหลัก คือ บาร์โค้ดแบบ 1D (One-Dimensional) และบาร์โค้ดแบบ 2D (Two-Dimensional) บาร์โค้ดทั้งสองประเภทนี้มีความแตกต่างกันทั้งในเรื่องของรูปแบบและการใช้งาน . . ▶ บาร์โค้ดแบบ 1D (One-Dimensional Barcode) . . ลักษณะ บาร์โค้ดแบบ 1D เป็นบาร์โค้ดที่มีลักษณะเป็นแถบเส้นที่เรียงตัวกันในแนวเดียว (แนวนอน) เส้นเหล่านี้ประกอบไปด้วยเส้นสีดำและช่องว่างสีขาวที่มีความกว้างและขนาดแตกต่างกัน ข้อมูลที่เก็บอยู่ในบาร์โค้ดแบบ 1D จะอยู่ในรูปแบบของตัวเลขหรือตัวอักษร ซึ่งอ่านได้โดยการสแกนจากซ้ายไปขวา สามารถเก็บข้อมูลได้จำกัด ประมาณ 20–25 อักขระ การใช้งาน ● สินค้าทั่วไปในร้านค้า : ใช้ในการสแกนและระบุสินค้าที่แคชเชียร์ ● การจัดการคลังสินค้า : ใช้ในการติดตามสินค้าและการตรวจนับสินค้าในคลัง ● อุตสาหกรรมโลจิสติกส์ : ใช้ในการติดตามพัสดุและการขนส่งสินค้า . . ▶ บาร์โค้ดแบบ 2D (Two-Dimensional Barcode) . . […]

Login