Login

Register

Login

Register

Login

Register

เครื่องพิมพ์บาร์โค้ดอุตสาหกรรม Honeywell PM42

เครื่องพิมพ์บาร์โค้ดอุตสาหกรรม Honeywell PM42

เครื่องพิมพ์บาร์โค้ดอุตสาหกรรม Honeywell PM42

เครื่องพิมพ์บาร์โค้ด Honeywell PM42 เป็นเครื่องระดับกลางสำหรับงานอุตสาหกรรม ออกแบบมาเพื่อประสิทธิภาพการทำงานได้อย่างต่อเนื่องยาวนานไม่มีสะดุดหรือต้องหยุดพัก ด้วยโครงสร้างที่แข็งแรงทนทาน รูปแบบการใช้งานที่ง่ายสะดวกสำหรับผู้ใช้ จึงนับเป็นเครื่องที่เหมาะกับศูนย์กระจายสินค้า คลังสินค้า โรงงานผลิต การขนส่ง และงานค้าปลีก

เครื่องพิมพ์บาร์โค้ดอุตสาหกรรมที่ผลิตด้วยโลหะทั้งตัว

แตกต่างจากเครื่องคู่แข่งที่มันจะผลิตมาจากส่วนประกอบพลาสิก Honeywell PM42 จึงแตกต่างกว่าด้วยวัสดุโลหะทั้งตัว โครงเป็นอลูมิเนียมอัดฉีดขึ้นรูปแรงดันสูง เพื่อเสริมความแข็งแรงทนทานแบบสูงสุด รองรับงานพิมพ์บาร์โค้ดระดับอุตสาหกรรมจำนวนมากได้ดีเยี่ยม พร้อมระบบหัวพิมพ์ที่ติดตั้งยึดด้วยแม่เหล็ก สามารถถอดเปลี่ยได้ง่ายและรวดเร็วโดยไม่ต้องใช้เครื่องมือใด ๆ ให้ยุ่งยากเลย ช่วยลดต้นทุนค่าใช้จ่ายได้เป็นอย่างดีอีกด้วย

เครื่องพิมพ์บาร์โค้ดอุตสาหกรรมที่มีหน้าจอแสดงผลสี ควบคุมง่ายสะดวก เห็นข้อมูลชัดเจน

มีหน้าจอแสดงผลกราฟิกสีมาให้ด้วย เพิ่มง่ายในการใช้งาน รองรับภาษามากถึง 9 ภาษา ลดความยุ่งยากและภาระในการอบรมสอนการใช้งานให้กับพนักงาน ตัวเครื่องสามารถใช้งานได้ทั้งที่หน้าตัวเครื่องและจากระยะไกลผ่านระบบ Web ซึ่งติดตั้งได้ง่าย ปรับแต่งค่าต่าง ๆ ง่าย รวมถึงการดูการทำงานต่าง ๆ ของเครื่องก็ง่ายเช่นกัน ผ่านอุปกรณ์พกพาต่าง ๆ ได้ทั้ง Mobile Computer, แท็บเล็ต และมือถสมาร์ทโฟน

รองรับงานพิมพ์จำนวนมากต่อวันสบาย ๆ เครื่องพิมพ์บาร์โค้ดอุตสาหกรรม Honeywell PM42

ตัวเครื่องสามารถรองรับงานพิมพ์บาร์โค้ด หรือพิมพ์ความร้อนได้มากถึง 5,000-15,000 ฉลากต่อวัน ความเร็วในการพิมพ์สูงถึง 300mm/s (12 ips) ยังมี Smart Printing Technolgy ที่ช่วยสั่งงานการพิมพ์ต่าง ๆ ผ่าน Honeywell C# ไม่ว่าจะเปิดแอป พิมพ์บาร์โค้ด และควบคุมอุปกรณ์ตัวอื่น ๆ จากตัวเครื่องพิมพ์ได้เลย ไม่จำเป็นต้องเชื่อมต่อกับเครื่อง PC

รายละเอียดทางเทคนิค Honeywell PM42 Technical Specifications

MECHANICAL

Dimensions: 484 mm x 292 mm x 283
mm (19.1 in x 11.5 in x 11.1 in)
Weight: 12.1 kg (26.7 lbs)

PM42 PRINT SPECIFICATIONS

Max. Width at 203 dpi: 108 mm (4.25 in)
Max. Width at 300 dpi: 106 mm (4.17 in)
Max. Width at 406 dpi: 104 mm (4.09 in)
Max. Length at 203 dpi: 4.8 m (15.75 ft)
Max. Length at 406 dpi: 1.2 m (3.94 ft)

PRINT SPEED

At 203 dpi/300 dpi: 100 mm/s–300
mm/s (4 ips–12 ips)
At 406 dpi: 100 mm/s–250 mm/s
(4 ips–10 ips)

PRINT RESOLUTION

At 203 dpi: 8 dots/mm
At 300 dpi: 11.8 dots/mm
At 406 dpi: 16 dots/mm

MEDIA

Type: Labels and tags, linerless and
linered media
Max./Min. Width:
114 mm/19 mm (4.5 in/0.75 in)
Thickness: 3 mm to 10.4 mm
(0.12 in to 0.41 in)
Configuration: Roll-fed or fanfold
Sensing: Gap, notch, black mark,
continuous
Label Roll Max. Diameter: 213 mm (8.38
in)
Label Roll Core: 38 mm–76 mm
(1.5 in–3 in)
Ribbon Supports: Carbon Inside and
Carbon Outside
Roll Max. Diameter: 80 mm (3.15 in),
approx. 450 m (1,476 ft)
Core ID: 25 mm (1 in)
Type: Wax, mid-range, resin

INTERFACES

Standard:
• Ethernet 10/100 Mbps
• RS-232, up to 115.2 KB/s
• Supported Serial Protocols:
– Fingerprint/Direct Protocol: XON/
XOFF, ENQ/ACK, DSR/DTR, RTS/CTS
– IPL: XON/XOFF, Honeywell
Std. Protocol
• USB 2.0
• USB Host X1
Optional:
• Parallel IEEE 1284

SUPPORTED PROTOCOLS

TCP/IP suite (TCP, UDP, ICMP,
IGMP), LPR/LPD, FTP, BOOTP,
DHCP, HTTP, SNMPv1/2c/3, SNMPMIBII supported – over UDP/IP
(private enterprise MIB included), SMTP
supports IPv4 and IPv6

MEMORY

Standard: 128 MB ROM, 128 MB
SDRAM, supports external storage
(FAT16/FAT32)

ความแตกต่าง Barcode, QR Code และ RFID

ในยุคที่เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของเรามากขึ้น การใช้งานระบบระบุและติดตามข้อมูลต่าง ๆ ก็ยิ่งมีความสำคัญและแพร่หลายออกไป เทคโนโลยีที่นิยมใช้ในการระบุและติดตามข้อมูลที่พบเห็นได้ทั่วไป ได้แก่ Barcode, QR Code, และ RFID ทั้งสามเทคโนโลยีนี้มีคุณสมบัติและวิธีการใช้งานที่แตกต่างกัน บทความนี้จะพาไปทำความเข้าใจความแตกต่างระหว่างทั้งสามเทคโนโลยี 1. Barcode (บาร์โค้ด) บาร์โค้ดเป็นเทคโนโลยีที่มีการใช้มานานและแพร่หลายที่สุด โดยทั่วไปจะเป็นเส้นคู่ขนานสีดำและขาว ที่มีการเรียงรหัสข้อมูลตามรูปแบบเส้นเพื่อบ่งบอกข้อมูลต่าง ๆ เช่น หมายเลขสินค้า วันผลิต หรือราคาสินค้า ข้อมูลในบาร์โค้ดสามารถอ่านได้ด้วยเครื่องสแกนบาร์โค้ด ซึ่งมีการใช้งานในหลากหลายธุรกิจ เช่น ร้านค้า ห้างสรรพสินค้า และคลังสินค้า   ข้อดี ● ราคาถูกและหาได้ง่าย ● ใช้งานง่ายและมีประสิทธิภาพในงานที่ต้องการความเร็วในการอ่านข้อมูล ข้อเสีย ● มีความจุข้อมูลจำกัด ● ต้องใช้เครื่องสแกนบาร์โค้ดในการอ่านข้อมูล 2. QR Code (คิวอาร์โค้ด) QR Code เป็นการพัฒนามาจากบาร์โค้ดที่เพิ่มความสามารถในการเก็บข้อมูลที่มากขึ้นและซับซ้อนกว่า QR Code มีรูปแบบเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีจุดและลวดลายต่าง ๆ ที่สามารถอ่านได้จากทุกทิศทาง ทำให้มีการใช้งานที่สะดวกและมีประสิทธิภาพในการเก็บข้อมูลที่มากกว่าบาร์โค้ด   […]

บาร์โค้ด 1D กับ 2D แตกต่างกันอย่างไร

บาร์โค้ดเป็นเทคโนโลยีที่ใช้ในการระบุข้อมูลและติดตามผลิตภัณฑ์โดยการสแกน บาร์โค้ดแบ่งออกเป็นสองประเภทหลัก คือ บาร์โค้ดแบบ 1D (One-Dimensional) และบาร์โค้ดแบบ 2D (Two-Dimensional) บาร์โค้ดทั้งสองประเภทนี้มีความแตกต่างกันทั้งในเรื่องของรูปแบบและการใช้งาน . . ▶ บาร์โค้ดแบบ 1D (One-Dimensional Barcode) . . ลักษณะ บาร์โค้ดแบบ 1D เป็นบาร์โค้ดที่มีลักษณะเป็นแถบเส้นที่เรียงตัวกันในแนวเดียว (แนวนอน) เส้นเหล่านี้ประกอบไปด้วยเส้นสีดำและช่องว่างสีขาวที่มีความกว้างและขนาดแตกต่างกัน ข้อมูลที่เก็บอยู่ในบาร์โค้ดแบบ 1D จะอยู่ในรูปแบบของตัวเลขหรือตัวอักษร ซึ่งอ่านได้โดยการสแกนจากซ้ายไปขวา สามารถเก็บข้อมูลได้จำกัด ประมาณ 20–25 อักขระ การใช้งาน ● สินค้าทั่วไปในร้านค้า : ใช้ในการสแกนและระบุสินค้าที่แคชเชียร์ ● การจัดการคลังสินค้า : ใช้ในการติดตามสินค้าและการตรวจนับสินค้าในคลัง ● อุตสาหกรรมโลจิสติกส์ : ใช้ในการติดตามพัสดุและการขนส่งสินค้า . . ▶ บาร์โค้ดแบบ 2D (Two-Dimensional Barcode) . . […]

8 ประโยชน์ของระบบคลังสินค้าอัตโนมัติ (Automated Warehouse System)

ระบบคลังสินค้าอัตโนมัติ (Automated Warehouse System) เป็นเทคโนโลยีที่เข้ามามีบทบาทสำคัญในการจัดการคลังสินค้าในยุคดิจิทัล ซึ่งสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน ลดข้อผิดพลาด และเพิ่มความสามารถในการแข่งขันขององค์กรได้อย่างมาก การนำระบบอัตโนมัติมาใช้ในคลังสินค้าจึงมีประโยชน์หลากหลายประการ ดังนี้ . . ▶ ประโยชน์ของการใช้ระบบคลังสินค้าอัตโนมัติ (Automated Warehouse System) . 1. เพิ่มความแม่นยำในการจัดการคลังสินค้า ระบบอัตโนมัติช่วยลดความผิดพลาดที่เกิดจากการทำงานของมนุษย์ เช่น การจัดเก็บสินค้าผิดตำแหน่ง การนับสต็อกผิดพลาด หรือการจัดส่งสินค้าผิด ทำให้การดำเนินงานมีความถูกต้องและแม่นยำมากยิ่งขึ้น ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อความพึงพอใจของลูกค้า 2. ลดเวลาการดำเนินงาน ระบบคลังสินค้าอัตโนมัติช่วยลดเวลาที่ใช้ในการดำเนินการต่าง ๆ เช่น การรับสินค้า การจัดเก็บ และการจัดส่ง ด้วยการทำงานอย่างต่อเนื่องและรวดเร็วของหุ่นยนต์หรือระบบอัตโนมัติ ทำให้สามารถประมวลผลคำสั่งซื้อได้เร็วขึ้น และทำให้การบริการลูกค้ามีความรวดเร็วมากขึ้นเช่นกัน 3. ลดต้นทุนในการดำเนินงาน การใช้ระบบอัตโนมัติช่วยลดความต้องการในการใช้แรงงานมนุษย์ในการดำเนินงานคลังสินค้า ซึ่งสามารถลดค่าใช้จ่ายด้านค่าจ้างและการฝึกอบรมพนักงาน นอกจากนี้ยังช่วยลดความต้องการในการใช้พื้นที่สำหรับจัดเก็บสินค้า ทำให้สามารถจัดการพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น 4. เพิ่มความปลอดภัยในการทำงาน การใช้หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติช่วยลดความเสี่ยงในการทำงานที่เป็นอันตราย เช่น การยกของหนักหรือการทำงานในสภาวะที่ไม่ปลอดภัย ทำให้พนักงานมีความปลอดภัยในการทำงานมากขึ้น และลดอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นในสถานที่ทำงาน . 5. เพิ่มความสามารถในการวางแผนและติดตามสินค้า ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย […]

Login